Skip to main content
TH
|
ENG
home
ความมั่นคงทางอาหาร/ที่ดิน
เตือนภัยสารเคมีเกษตร
การค้ากับฐานทรัพยากร
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ทรัพย์สินทางปัญญา
โจรสลัดชีวภาพ
สิทธิบัตรสิ่งมีชีวิต
สิ่งบ่งชีทางภูมิศาสตร์
จีเอ็มโอ
ทรัพยากรพันธุกรรม
ข้าวหอมมะลิ
Previous
Pause
Next
1
of
5
นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล ผู้บริหารกิจการด้านอาหารสัตว์ของซีพี และดำรงตำแหน่งนายกสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย นายปราโมทย์ ติรไพรวงค์ นายกสมาคมคนไทยธุรกิจการเกษตร ซึ่งเป็นกลุ่มผู้ค้าสารพิษกำจัดศัตรูพืช และนายนิพนธ์ เอี่ยมสุภาษิต...
แถลงการณ์
แถลงการณ์ เครือข่ายสนับสนุนการแบนสารพิษร้ายแรง หลัง รมต.เกษตรรับข้อเรียกร้อง
ตามที่นายกรัฐมนตรีได้มอบหมายให้ นายกฤษฎา บุญราช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นตัวแทนของรัฐบาลมารับหนังสือของเครือข่ายสนับสนุนการแบนสารพิษร้ายแรง 700 องค์กรนั้น ...
แถลงการณ์
แถลงการณ์เครือข่ายสนับสนุนการแบนสารพิษที่มีอันตรายร้ายแรง 369 องค์กร
ขอแสดงความเสียใจต่อประชาชนไทยที่การลงมติของคณะกรรมการวัตถุอันตรายในวันนี้ (23 พฤษภาคม 2561) ปฏิเสธการแบนสารพิษร้ายแรงทั้งพาราควอต และคลอร์ไพริฟอส ตามข้อเสนอของกระทรวงสาธารณสุขและคณะทำงานจาก 4 กระทรวงหลัก รวมทั้งประชาคมวิชาการจากหลายสถาบัน...
แถลงการณ์
คณะกรรมการวัตถุอันตรายจะมีการพิจารณาว่าจะมีการแบนสารพิษกำจัดศัตรูพืช 2 ชนิด คือ พาราควอต และคลอร์ไพริฟอส ในการประชุมวันนี้ (7 ธันวาคม 25560) แต่ข้อเสนอของกระทรวงสาธารณสุขเพื่อให้แบนสารพิษทั้งสองชนิดอาจล้มเหลว...
ชีววิถีทัศน์
ไทยแพนแถลงข่าวมากกว่าครึ่งผักผลไม้มีสารกำจัดวัชพืชตกค้างเกินค่ามาตรฐาน
กรุงเทพมหานคร-21 พฤศจิกายน 2560 เครือข่ายเตือนภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืชหรือไทยแพน (Thai-PAN) โดยนางสาวปรกชล อู๋ทรัพย์ ผู้ประสานงานได้แถลงผลการเฝ้าระวังผักและผลไม้ซึ่งไทยแพนดำเนินการต่อเนื่องเป็นปีที่ 5 พบว่า...
รายงานพิเศษ
< ชีววิถีทัศน์
พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช 2542 คุ้มครองเกษตรกรหรือบริษัทเมล็ดพันธุ์ ?
1. ความเป็นมา พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ.2542 เกิดขึ้นจากแรงผลักดันของประเทศอุตสาหกรรมที่มีความก้าวหน้าในการปรับปรุงพันธุ์พืช บริษัทเมล็ดพันธุ์และนักปรับปรุงพันธุ์พืชบางกลุ่มในประเทศไทย ที่ต้องการให้มีกฎหมายที่คุ้มครอง “สิทธินักปรับปรุงพันธุ์” ซึ่งเป็นสิทธิผูกขาดในการผลิต และจำหน่าย...
< รายงานพิเศษ
พ.ร.บ.คุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ.2542 ความเป็นมาและหลักการสำคัญ
1.ทำไมประเทศไทยต้องมีการร่างกฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืช ประเทศไทยในฐานะที่เป็นสมาชิกขององค์การค้าโลก ได้ลงนามนับตั้งแต่ปี 2538 เพื่อที่จะให้มีการออกกฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืช ตามพันธกรณีที่มีในข้อตกลงเรื่องทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวกับการค้า (ทริปส์-TRIPs)...
< บทความ
นศ.ปริญญาเอกวิจัยข้าวโพดในแคนาดา เตือนสติไทยเรื่องพืชจีเอ็มโอ
บอกก่อนว่าบทความนี้ยาวมาก ถ้าท่านสนใจประเด็นพืชจีเอ็ม ขอความกรุณาอ่านจนจบก่อนกระทำการอื่นใดเช่นกดไลค์หรือแสดงความคิดเห็นหรือแชร์ค่ะ ขอบพระคุณมา ณ ที่นี้ ตอนนี้เรื่องจีเอ็มโอค่อนข้างจะฮอตในเมืองไทย ก็เลยถือโอกาสนี้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องนี้โดยเน้นที่ข้าวโพด...
< แถลงข่าว
ภาคประชาสังคมจับตาการผลักดันกฎหมายจีเอ็มโอผ่านสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เอื้อบรรษัทเมล็ดพันธุ์ข้ามชาติ
กรุงเทพ-21 มกราคม 2558 นายวิฑูรย์ เลี่ยนจำรูญ ผู้อำนวยการมูลนิธิชีวิถี ได้แถลงในการประชุมเพื่อวิเคราะห์ “ร่างพรบ.ความปลอดภัยทางชีวภาพ พ.ศ....” ซึ่งจัดขึ้นโดยคณะกรรมการองค์การอิสระเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค ภาคประชาชน และมูลนิธิชีววิถี (BIOTHAI) เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2558 ว่า หลังจาก "...
BioThai Archive
กรกฎาคม 2018
(1)
มิถุนายน 2018
(1)
พฤษภาคม 2018
(1)
มีนาคม 2018
(2)
ธันวาคม 2017
(1)
พฤศจิกายน 2017
(1)
ตุลาคม 2017
(4)
กันยายน 2017
(1)
พฤษภาคม 2017
(1)
เมษายน 2017
(1)
ทั้งหมด